วันพฤหัสบดีที่ 22 มกราคม พ.ศ. 2558

หน่วยการเรียนรู้ที่ 8 ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ

การแลกเปลี่ยนความร่วมมือระหว่างกัน


ไทย สาธารณรัฐฝรั่งเศส
1. ประธานาธิบดี ฌาคส์ ชีรัค
1.1 นายกรัฐมนตรีไทยเยือนฝรั่งเศสอย่างเป็นทางการครั้งแรกระหว่างวันที่ 12-13 พฤษภาคม พ.ศ. 2546 และครั้งที่ 2 ระหว่างวันที่ 9 -11 ตุลา อ่านเพิ่มเติม

หน่วยการเรียนรู้ที่ 8 ความสัมพันะ์ระหว่างประเทศ

การประสานประโยชน์ร่วมกันระหว่างประเทศ

ความหมายและความสำคัญการประสานประโยชน์ร่วมกันระหว่างประเทศ
  การประสานประโยชน์ 
             การประสานประโยชน์ หมายถึง การร่วมมือกันเพื่อรักษาและป้องกันผลประโยชน์ของตน หรือระงับความขัดแย้งที่เกิดขึ้นจากการแข่งขันทางการเมือง เศรษฐกิจระหว่างประเท อ่านเพิ่มเติม

หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 สิทธิมนุษยชน

องค์กรระหว่างประเทศที่มีบมบาทในด้านสิทธิมนุษยยชน

 องค์การระหว่างประเทศในเวทีโลกที่มีบทบาทด้านสิทธิมนุษยชนมีอยู่ด้วยกันหลากหลายองค์กร เช่น องค์การแอมเนสตี อินเตอร์เนชัลแนล (Ammnesty internatiomal : AL) องค์การแรงงานระหว่างประเทศ  (international Labor Organization : ILO) เป็นต้ อ่านเพิ่มเติม

หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 สิทธิมนุษยชน

สิทธิมนุษยชน

  สิทธิมนุษยชน (Human Right)  หมายถึง สิทธิที่มนุษย์ทุกคนมีความเท่าเทียมกัน มีศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ สิทธิ เสรีภาพ และความเสมอภาคของบุคคลที่ได้รับการรับรอง ทั้งความคิดและการกระทำที่ไม่มีการล่วงละเมิดได้ โดยได้รับการ คุ้มคร อ่านเพิ่มเติม

หน่วยการเรียนรู้ทีี่6 กฎหมาย

กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับตนเองและครอบครัว

1. การหมั้น
การหมั้นจะสมบูรณ์ต่อเมื่อฝ่ายชายได้ส่งมอบหรือโอนทรัพย์สินอันเป็นของหมั้นให้แก่หญิงเพื่อเป็นหลักฐานว่าจะสมรสกับผู้หญิง การหมั้นจะทำได้ต่อเมื่อชายและหญิงมีอายุ 17 บริบูรณ์แล้ อ่านเพิ่มเติม

หน่วยการเรียนรู้ที่6 กฎหมาย

ข้อตกลงระหว่างประเทศ

 แผนปฏิบัติการเกี่ยวกับชั้นโอโซน
          ปัญหาการถูกทำลายของชั้นโอโซนได้ถูกหยิบยกมาอภิปรายโดยองค์การสิ่งแวดล้อมแห่งสหประชาชาติ
ิ(United Nations Environment  Programme,  UNEP) ซึ่งได้จัดตั้งคณะกรรมการประสานงานเรื่องชั้นโอโซน
ซึ่งประกอบด้วยผู้แทนจากองค์กรต่างๆ เช่นองค์การอุตุนิยมวิทยาโลก (WMO) รับผิดชอบเรื่องแผ อ่านเพิ่มเติม

หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 การปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข

การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ
ตามที่คณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญได้จัดทำร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่แล้วเสร็จ เพื่อเผยแพร่ให้มีการพิจารณาให้ข้อคิดเห็น เพื่อสภาร่างรัฐธรรมนูญจะได้พิจารณาในขั้นตอนการแปรญัตติก่อนที่จะเป็นร่างรัฐธรรมนูญฉบับที่มีความสมบูรณ์สำหรับให้ประชาชนคนไทยทั้งประเท อ่านเพิ่มเติม



หน่วยการเรียนรู้ที่5 การปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข

รัฐ
รัฐ คือ กลไกทางการเมืองโดยมีอำนาจอธิปไตยปกครองดินแดนทางภูมิศาสตร์ที่มีอาณาเขตและมีประชากรแน่นอน โดยอำนาจดังกล่าวเบ็ดเสร็จทั้งภายในและภายนอกรัฐ ไม่ขึ้นกับรัฐอื่นหรืออำนาจอื่นจากภายนอก และอาจกล่าวได้ว่า รัฐสามารถคงอยู่ได้แม้จะไม่ได้รับการรับรองจากรัฐอื่น เพียงแต่รัฐที่ไม่ได้รับกา อ่านเพิ่มเติม

หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 พลเมืองดี

คุณลักษณะของพลเมืองดี
          คุณลักษณะของพลเมืองดีที่สำคัญและจำเป็นสำหรับการอยู่ร่วมกันอย่างราบรื่น  และช่วยจรรโลงให้สังคมประเทศชาติและโลกพัฒนาก้าวหน้า  มีดังนี้
1.ต้องเป็นบุคคลที่เคารพกฏหม อ่านเพิ่มเติม



หน่วยการเรียนรู้ที่4 พลเมืองดี

พลเมืองดี
พลเมืองดี” ในวิถีชีวิตประชาธิปไตย
พจนานุกรมนักเรียนฉบับราชบัณฑิตยสถาน ได้ให้ความหมายของคำต่าง ๆ ดังนี้
พลเมือง” หมายถึง ชาวเมือง ชาวประเทศ  ประชาชน วิถีหมายถึง สาย แนว ทาง ถนน   “ประชาธิปไตยหมายถึง แบบการปกครองที่ถือมติปว อ่านเพิ่มเติม

หน่วยการเรียนรู้ที่3 วัฒนธรรม

การเปลี่ยนแปลงและอนุรักษ์วัฒนธรรมไทย
วัฒนธรรม   หมายถึง   สิ่งที่คนไทยกำหนดสร้างขึ้น มีการเรียนรู้สืบต่อกันมามีลักษณะที่แสดงออกถึงความงอกงาม  ความเป็นระเบียบร้อย  ความกลมเกลียว  ตลอดจนการมีศีลธรรมอันดีของสมาชิกไทย  เช่น  การใช้ภาษาไทย  การรู้จักเคารพผู้อาวุโส การไหว้ ศิลปกรรม  แบบไทย  อาหารไทย รวมทั้งการแต่งกายที่สุภาพเรียบร้อย ถูกต้องตามกาลเทศะเหม อ่านเพิ่มเติม



หน่วยการเรียนรู้ที่3 วัฒนธรรม

วัฒนธรรมไทย
คำว่า วัฒนธรรม มาจากคำว่า “Culture” ในภาษาอังกฤษ ซึ้งคำนนี้มีรากศัพท์มาจาก “Cultura” ในภาษาละติน มีความหมายว่า การเพาะปลูกและบำรุงให้เจริญงอกงาม คำว่า วัฒนธรรมในภาษาไทย เป็นคำที่ได้มาจากการรวมคำ 2 คำ เข้าด้วยกัน คือ คำว่า วัฒนะหมายถึง ความเจริญงอ อ่านเพิ่มเติม



หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การเปลี่ยนแปลงและการพัฒนาทางสังคม

ปัญหาทางสังคม
ลักษณะปัญหาสังคม  พอสรุปลักษณะปัญหาสังคมได้ดังนี้
เป็นสภาวการณ์ที่มีผลกระทบกระเทือนต่อคนเป็นจำนวนมาก
เป็นสิ่งที่คนส่วนใหญ่พิจารณาว่าเป็นสภาวะการณ์ที่ไม่พึ อ่านเพิ่มเติม



หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การเปลี่ยนแปลงและการพัฒนาทางสังคม

การเปลี่ยนแปลงทางสังคม
ความหมายของการเปลี่ยนแปลงทางสังคม

ราชบัณฑิตยสถาน (2524 : 337) อธิบายว่า การเปลี่ยนแปลงทางสังคม หมายถึง การที่ระบบสังคม กระบวนการ แบบอย่างหรือรูปแบบทางสังคม เช่น ขนบธรรมเนียมประเพณี ระบบครอบครัว ระบบการปกครอง ได้เปลี่ยนแปลงไป ไม่ว่าจะเป็นด้านใดก็ตามการเปลี่ยนแปลงทางสังคมนี้อาจจะเป็นไปในทางก้าวหน้าหรือถดถอย เป็นไปได้อย่างถาวรหรื อ่านเพิ่มเติม